ตารางสรุปแนวทางการสำเร็จรูปของนามศัพท์ อการันต์ ปุงลิงค์
แสดงแนวทางการสำเร็จรูปศัพท์
อ การันต์ ที่ประกอบวิภัตติทั้ง ๗ โดยย่อ
|
|||||||
วิภัตติ
|
ลำดับ
|
เอกวจนะ
|
วิภัตติ
|
ลำดับ
|
พหุวจนะ
|
||
แนวทาง
|
รูปสำร็จ
|
แนวทาง
|
รูปสำเร็จ
|
||||
สิ
|
ปฐมา
|
สิ เป็น โอ
|
ปุริโส
|
โย
|
ปฐมา
|
โย เป็น อา
|
ปุริสา
|
อํ
|
ทุติยา
|
คง อํ ไว้
|
ปุริสํ
|
โย
|
ทุติยา
|
โย เป็น เอ
|
ปุริเส
|
นา
|
ตติยา
|
นา เป็น เอน
|
ปุริเสน
|
หิ
|
ตติยา
|
อ เป็น เอ
|
ปุริเสหิ
|
อ เป็น เอ,
หิ เป็น ภิ
|
ปุริเสภิ
|
||||||
ส
|
จตุตฺถี
|
เพิ่ม ส
|
ปุริสสฺส
|
นํ
|
จตุตฺถี
|
อ เป็น อา
|
ปุริสานํ
|
ส เป็น อาย
|
ปุริสาย
|
||||||
ส เป็น ตฺถํ
|
ปุริสตฺถํ
|
||||||
สฺมา
|
ปญฺจมี
|
-*
|
ปุริสสฺมา
|
หิ
|
ปญฺจมี
|
อ เป็น เอ
|
ปุริเสหิ
|
สฺมา เป็น
มฺหา
|
ปุริสมฺหา
|
||||||
สฺมา เป็น อา
|
ปุริสา
|
อ เป็น
เอ,
หิ เป็น ภิ
|
ปุริเสภิ
|
||||
ส
|
ฉฏฺฐี
|
เพิ่ม สฺ
|
ปุริสสฺส
|
นํ
|
ฉฏฺฐี
|
อ เป็น อา
|
ปุริสานํ
|
สมึ
|
สตฺตมี
|
-*
|
ปุริสสฺมึ
|
สุ
|
สตฺตมี
|
อ เป็น เอ
|
ปุริเสสุ
|
สฺมึ เป็น
มฺหิ
|
ปุริสมฺหิ
|
||||||
สฺมึ เป็น เอ
|
ปุริเส
|
||||||
สิ
|
อาลปน
|
ลบ สิ
|
ปุริส
|
โย
|
อาลปน
|
โย เป็น อา
|
ปุริสา
|
* ที่ไม่ได้ใส่ข้อความไว้ เพราะลงสฺมา หรือ สฺมึ
แล้วไม่มีวิธีการแปลงเสียงสระท้าย เนื่องจาก สฺ ที่สฺมึ หรือสฺมา เป็นพยัญชนะ
ไม่มีการลบ ซึ่งต่างจากสระที่มีการลบสระการันต์ก่อนจึงนำไปประกอบได้
เพราะในหนึ่งคำ จะมีสระซ้อนกัน ๒ ตัวไม่ได้.
|
แม้ศัพท์ที่เป็น อ การันต์แบบนี้จะมีมากมายแค่ไหนก็ตาม
หรือแม้แต่เราจะประกอบคำศัพท์ขึ้นใช้เอง โดยให้มี
อ การันต์แบบนี้ก็ตาม. เมื่อได้แบบอย่างของการแจกวิภัตติของศัพท์ที่เป็น
อ การันต์อย่างนี้แล้ว ก็จะทำให้สะดวกในการนำศัพท์เข้าประกอบ.
ตารางนี้เป็นคำศัพท์ที่สามารถนำไปแจกวิภัตติแบบ ปุริส ศัพท์ ได้.
ศัพท์เหล่านี้ มี อ
การันต์ แจกเหมือนปุริส ศัพท์
|
|||||||
สุร
|
เทวดา
|
อสุร
|
อสูร
|
นร
|
คน
|
อุรค
|
งู
|
นาค
|
ช้าง
|
ยกฺข
|
ยักษ์
|
คนฺธพฺพ
|
คนธรรพ์
|
กินฺนร
|
กินนร
|
มนุสฺส
|
มนุษย์
|
ปิสาจ
|
ปีศาจ
|
เปต
|
เปรต
|
มาตงฺค
|
ช้าง
|
ชงฺคม
|
ผู้เที่ยวไป
|
ตุรงฺค
|
ม้า
|
วราห
|
หมู
|
สีห
|
ราชสีห์
|
พฺยคฺฆ
|
เสือ
|
อจฺฉ
|
หมี
|
กจฺฉป
|
เต่า
|
ตรจฺฉ
|
หมาป่า
|
มิค
|
กวาง
|
อสฺส
|
ม้า
|
โสณ
|
สุนัข
|
อาโลก
|
แสงสว่าง
|
โลก
|
โลก
|
นิลย
|
เรือน
|
อนิล
|
ลม
|
จาค
|
การบริจาค
|
โยค
|
การประกอบ
|
คาม
|
หมู่บ้าน
|
นิคม
|
นิคม
|
อาคม
|
ความรู้
|
ธมฺม
|
ธรรม
|
กาม
|
กาม
|
สํฆ
|
พระสงฆ์
|
โอฆ
|
ห้วงน้ำ
|
โฆส
|
เสียง
|
ปฏิฆ
|
ความโกรธ
|
อาสว
|
ตัณหา
|
โกธ
|
ความโกรธ
|
โลภ
|
ความโลภ
|
สารมฺภ
|
การแข่งดี
|
ถมฺภ
|
เสา,หัวดื้อ
|
มท
|
ความมัวเมา
|
มาน
|
ความถือตัว
|
มกฺข
|
การลบหลู่
|
ปุนฺนาค
|
ต้นกากทิง
|
ปนส
|
ต้นขนุน
|
อสน
|
ต้นประดู่
|
จมฺปก
|
ต้นจำปา
|
อมฺพ
|
ต้นมะม่วง
|
อณฺฑช
|
นก
|
ขั้นตอนนี้ ให้กำหนดว่า
๑) คำศัพท์ทุกคำที่พบในภาษาบาลีต้องมีการผสมวิภัตติทั้งสิ้น
๒) อ การันต์ปุงลิงค์ ที่ใช้เป็นแบบอย่าง ได้แก่ ปุริส ศัพท์
แปลว่า บุรุษ (ไม่มีสำเนียงอายตนิบาต)
๓) สำหรับรูปแบบการแจกวิภัตติทั้งหมด เรียกว่า ปทมาลา
ต้องทำความเข้าใจว่า เป็นเพียงตัวอย่าง บางครั้งที่พบอาจนอกเหนือจากนี้ไปบ้างก็มี
แต่คงเป็นส่วนน้อย.
×vØ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น